ข่าวและกิจกรรมล่าสุด

บทความล่าสุด

  • ศักยภาพและข้อจำกัดของสถานีตามแนวเส้นทางการขนส่งสินค้าไทย-ลาว
    ท่าบกท่านาแล้ง เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้าที่อยู่ถัดจากสถานีท่านาแล้ง ซึ่งเป็นสถานีรถไฟในเส้นทางสายหนองคาย – เวียงจันทน์ ตั้งอยู่บ้านดงโพสี หาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ตั้งอยู่ห่างจากสะพานมิตรภาพ ไทย – ลาว แห่งที่ 1 เป็นระยะทาง 3.50 กิโลเมตร และบริษัท เวียงจันทน์โลจิสติกส์พาร์ค จำกัด ได้รับสัมปทานในการพัฒนาท่าบกท่านาแล้ง รวมถึงเขตโลจิสติกส์นครหลวงเวียงจันทน์ ครอบคลุมพื้นที่ขนาด 2,387.5 ไร่ เพื่อเป็นด่านสากลในการให้บริการด้านพิธีศุลกากรของสปป. ลาว …. อ่านเพิ่มเติม
  • แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านระบบรางของประเทศไทย
    สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางได้ทำการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจลงพื้นที่มาใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอแนะที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพด้านระบบรางของประเทศ สรุปดังนี้… อ่านเพิ่มเติม

ปฏิทินกิจกรรม

พฤษภาคม 2024
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
2728293031  

เครือข่ายพันธมิตร

MENU

ดร. โชติชัย เจริญงาม

การศึกษา

  • 2537 Ph.D. Civil Engineering in Construction Engineering and Project Management University of Texas at Austin, USA.
  • 2532 M. Sc. Civil Engineering in Construction Engineering and Management University of Kansas, USA.
  • 2528 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา (เกียรตินิยม อันดับ 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2541 - 2565 รองศาสตราจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology: AIT)
  • 2538 ผู้เชี่ยวชาญระบบวางแผนและควบคุมต้นทุนโครงการ องค์การสหประชาชาติ (UNDP)
  • 2535 - 2537 วิศวกรที่ปรึกษา ทางด้านการวางแผนและควบคุมโครงการ C&C Consultants, Austin, Texas, USA.
  • 2534 - 2535 วิศวกรประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงาน Nuclear Power Plants Texas Public Utility Commissions, USA.

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2561 – ปัจจุบัน กรรมการ มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
  • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ กระทรวงการคลัง
  • 2562 – ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุ๊ป จํากัด (มหาชน)
  • 2558 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท แมสเทค ลิงค์ จํากัด
  • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการโรงเรียนนานาชาติ KIS (KIS International School)


This will close in 0 seconds

ดร.ทยากร จันทรางศุ

การศึกษา

  • 2553 ปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยซิดนีย์ ออสเตรเลีย
  • 2548 ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา
  • 2546 ปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน สหรัฐอเมริกา
  • 2558 ปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2563 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการกองมาตรฐานความปลอดภัยและบำรุงทาง กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม
  • 2554 - 2563 วิศวกรโยธา/หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาอาคาร สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม

This will close in 0 seconds

ดร. ฉัตรแก้ว ฮาตระวัง

การศึกษา

  • 2555 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • 2553 ประกาศนียบัตร Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • 2547 Mini Master Degree of Business Administration มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2532 คุรุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 2526 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
  • 2522 ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง สาขาเขียนแบบเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2560 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยซัมมิท โอโตโมทีฟ จำกัด (สำนักงานใหญ่)
  • 2557 – 2560 ผู้อำนวยการฝ่ายโรงงาน บริษัท ไทยซัมมิท โอโตโมทีฟ จำกัด (สำนักงานใหญ่)
  • 2552 – 2557 ผู้อำนวยการฝ่ายโรงงาน บริษัท ไทยซัมมิท โอโตพาร์ท อินดัสตรี จำกัด

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2561 คณะกรรมการสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • 2560 กรรมการร่วมดำเนินการพัฒนาระบบ Lean Automation สภาอุตสาหกรรรมแห่งประเทศไทย
  • 2560 ที่ปรึกษาบริหารศูนย์นวัตกรรมด้านการออกแบบและวิศวกรรมเพื่อการผลิต (Col-DEM) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2559 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาเอก สาขานวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • 2554 – 2555 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • 2552 – 2553 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • 2550 – 2551 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

This will close in 0 seconds

ชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย

การศึกษา

  • 2524 ปริญญาโท วิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri-Rolla ,ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 2522 ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri-Rolla ,ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2558 – 2560 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน)
  • 2557 – 2558 รองผู้ว่าการนโยบายและแผน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • 2555 - 2557 ผู้ช่วยผู้ว่าการควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท กันกุล พาวเวอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด


This will close in 0 seconds

ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา

การศึกษา

  • 2547 Doctor of Philosophy (Infrastructure Systems) The University of Tokyo ประเทศญี่ปุ่น
  • 2541 Master of Engineering (Construction Engineering & Management) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
  • 2538 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประเทศไทย

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสถาบัน สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2561 – 2565 ผู้อำนวยการ สถาบันนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (STIPI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2559 - มิ.ย. 2561 ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายการเงินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2554 – 2555 รองคณบดี ฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 25441 – 2544 วิศวกร ฝ่ายโครงการทางด่วน รับผิดชอบการควบคุมการก่อสร้างและการบริหารสัญญาและการเงินของโครงการทางด่วนที่ กทพ.ลงทุนและโครงการร่วมลงทุนกับภาคเอกชน (ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 ส่วน D) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • มกราคม 2563 – 2565 กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2564 - ปัจจุบัน อนุกรรมการนโยบายและแผน คณะกรรมการการอุดมศึกษา
  • 2561 – 2565 กรรมการ คณะกรรมการกำกับโครงการพัฒนาระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2561 – 2565 หัวหน้าคณะทำงานในคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจ คณะที่ 3 สำนักนายกรัฐมนตรี
  • 2560 กรรมการตรวจสอบ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
  • 2548 ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมการด้านการจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลระบบขนส่งมวลชน ภายใต้คณะกรรมการอำนวยการโครงการระบบขนส่งมวลชน กระทรวงคมนาคม
  • 2562 – ปัจจุบัน กรรรมการ คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
  • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการพิจารณาแผนงานและโครงการ สภากาชาดไทย

This will close in 0 seconds

ดร.พิณทิพย์ วัชโรทัย

การศึกษา

  • 2558 – 2562 ปริญญาเอก (สาขาวิศวกรรมศาสตร์ด้านการประเมินโครงการ และระบบการตัดสินใจ: Project Evaluation and Decision-Making), Department of Construction Management and Engineering, University of Twente, ประเทศเนเธอร์แลนด์
  • 2548 – 2551 ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต การบริหารเทคโนโลยี (Technology Management), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2540 – 2544 ปริญญาศิลปบัณฑิต การออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมันฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2566 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสำนักขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2562 – 2565 หัวหน้างานประสานงานและบริหารโครงการ ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีและดิจิทัล สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) (สสน.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • 2555 – 2562 หัวหน้างานประสานงานและบริหารโครงการ ฝ่ายวิจัยและพัฒนา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 2549 – 2555 เจ้าหน้าที่บริหารโครงการ ฝ่ายวิจัยและพัฒนา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 2545 – 2549 UX/UI and Interactive Designer & Business Analyst บริษัท ไซเบอร์คลับ คอร์ปอเรชั่น (1997) จำกัด, กรุงเทพฯ

รางวัล

  • มีนาคม 2565 ชนะเลิศการแข่งขันพัฒนาไอเดียด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล (Future World Series Hackathon) ภายใต้หัวข้อ Future Water Hack ในชื่อแพลตฟอร์มดิจิทัล “Hydrogence” จากงาน World Expo 2020 ณ นครดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ - บทบาท: Innovation Integrator ทีม Hydrogence
  • กันยายน 2564 รองชนะเลิศอันดับสอง จากบทความวิชาการ เรื่อง “การสร้างธรรมาภิบาลในกระบวนการตัดสินใจลงทุนภาครัฐ” โครงการประกวดบทความวิชาการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

This will close in 0 seconds

ผศ. พิศิษฐ์ แสง-ชูโต

การศึกษา

  • 2540 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2536 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2559 - 2563 คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • 2551 – 2559 ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 2546 – 2551 รองคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน
  • 2546 – 2547 ประธานสาขาวิศวกรรมการจัดการ
  • 2542 – 2546 ผู้อำนวยการโครงการผลิตน้ำดื่มศิลา
  • 2542 – 2546 ประธานสาขาวิศวกรรมการจัดการ
  • 2542 – 2546 หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
  • 2541 – 2542 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

ตำแหน่งทางสถาวิศวกร

  • 2564-ปัจจุบัน เลขาธิการสภาวิศวกร (สมัยที่ 7)
  • 2558-2561 กรรมการสภาวิศวกร  (สมัยที่ 6)
  • 2558-ปัจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
  • 2558-ปัจจุบัน ประธานกรรมการทดสอบความรู้ระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
  • 2558-ปัจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการอุตสาหกรรมสัมพันธ์
  • 2562-ปัจจุบัน รองประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ ความชำนาญเฉพาะด้าน
  • 2558-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการมาตรฐานการศึกษา
  • 2558-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 2558-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุมประเภทนิติบุคคล
  • 2558-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการ TABEE
  • 2558-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ์
  • 2562-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการถ่ายโอนเทคโนโลยี

ตำแหน่งทางสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)

  • 2566-ปัจจุบัน ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)
  • 2557-ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหารกองทุนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร
  • 2552-ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการพิจารณาตำราดีเด่น ในคณะกรรมการบริหารกองทุนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร
  • 2551-ปัจจุบัน ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิศวกรรมอุตสาหการในคณะอนุกรรมการวิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)
  • 2548 - 2553 รองประธานคณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)

หน่วยงานอื่นๆ

  • 2559 - ปัจจุบัน คณะกรรมการผังภูมิ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
  • 2559 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัทไทยอิงเกอร์โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)
  • 2561 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม / คณะกรรมการบริหารบริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง จำกัด (มหาชน)
  • 2565 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไซแมท เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน)
  • 2563 - ปัจจุบัน กรรมการมูลนิธิโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
  • 2564 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาบริษัท หลิ่ง หนัน สตีล จำกัด
  • 2564 - ปัจจุบัน กรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2564 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการโครงการพัฒนาดนตรีศึกษาดนตรีมาร์ชชิ่งอาร์ท และวงโยธวาทิตในประเทศไทย ในกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
  • 2564 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา (สมศ.)


This will close in 0 seconds

ดร.สุเมธ องกิตติกุล

การศึกษา

  • 2549 สังคมวิทยาดุษฎีบัณฑิต สาขานโยบายขนส่ง Erasmus University Rotterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์
  • 2544 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ขนส่ง University of Leeds ประเทศอังกฤษ
  • 2543 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมขนส่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2541 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 - ปัจจุบัน รองประธานสถาบัน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • 2557 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการวิจัยด้านนโยบายการขนส่งและโลจิสติกส์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • 2556 - 2557 นักวิชาการอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • 2549 – 2556 นักวิชาการ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • 2545 – 2549 นักวิจัย Erasmus University Rotterdam
  • 2546 – 2547 นักวิจัย ProRail (บริษัทบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านรถไฟของประเทศ เนเธอร์แลนด์)
  • 2546 – 2548 อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยการขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา

[/trp_language]

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • (2565-ปัจจุบัน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องการและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ
  • (2565-ปัจจุบัน) กรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
  • (2565-ปัจจุบัน) ประธานอนุกรรมการกฎหมาย สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง
  • (2564-ปัจจุบัน) อนุกรรมการและเลขานุการด้านการกำหนดมาตรฐานอัตราค่าโดยสารและการจัดสรรรายได้ ในคณะกรรมการบริหารจัดการระบบตั๋วร่วม
  • (2564-ปัจจุบัน) กรรมการประสานงานภายใต้การดำเนินการทำแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่ต่อเนื่อง ระยะที่ 2 (M-MAP2)
  • (2563-ปัจจุบัน) อนุกรรมการด้านการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนน ในคณะกรรมการศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน
  • (2563-ปัจจุบัน) อนุกรรมการด้านยานพาหนะปลอดภัย ในคณะกรรมการศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน
  • (2563-ปัจจุบัน) อนุกรรมการด้านการบริหารจัดการข้อมูลและการติดตามประเมินผล ในคณะกรรมการศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน
  • (2563-2566) อนุกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ สภาผู้แทนราษฎร
  • (2565-2566) อนุกรรมาธิการพิจารณาติดตามการเสนอและบังคับใช้กฎหมายด้านความปลอดภัยทางถนน สภาผู้แทนราษฎร
  • (2565) กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการขนส่งทางราง พ.ศ. .... สภาผู้แทนราษฎร
  • (2564-2565) กรรมการนโยบายสภาองค์กรของผู้บริโภค
  • (2564-2565) ประธานอนุกรรมการด้านการขนส่งและยานพาหนะ สภาองค์กรของผู้บริโภค
  • (2562) กรรมาธิการวิสามัญการพิจารณาขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและรถไฟฟ้า (บีทีเอส) สภาผู้แทนราษฎร
  • (2557-2559) กรรมการนโยบายระบบราง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ประจำปี พ.ศ. 2557-2559

This will close in 0 seconds

ดร.เพียงออ เลาหะวิไลย

การศึกษา

  • 2558 วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (D. in Knowledge Management) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2533 Master of Business Administration (M.B.A. in International Business) Seoul National University, Seoul, Republic of Korea
  • 2527 รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2561- ปัจจุบัน อาจารย์ประจํา วิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ผู้อํานวยการศูนย์ Sister Cities Research Center
  • 2534-2563 KEC Corporation (Republic of Korea) ผู้ผลิต IC, Semiconductor ดำรงตำแหน่ง ใน บริษัท เคอีซี (ประเทศไทย) จำกัด นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ตำแหน่งสุดท้าย กรรมการบริหารบริษัท /2556-2563 ที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการ

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2564 – 2566 กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด
  • 2563 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดักส์ (มหาชน) จํากัด (กรรมการฝ่ายองค์การเภสัชกรรม)
  • 2563 – ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จํากัด

This will close in 0 seconds

ดร.พิเชฐ คุณาธรรมรักษ์

การศึกษา

  • 2550 ปริญญาเอก วิศวกรรมขนส่ง สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
  • 2541 ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2537 ปริญญาตรี วิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 - ปัจจุบัน อธิบดีกรมขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม
  • 2563 - 2565 รองอธิบดีกรมขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม
  • 2563 ผู้ช่วยปลัดกระทรวงคมนาคม

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการผู้แทนกระทรวงคมนาคมของคณะกรรมการสถาบันการบินพลเรือน
  • 2564 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (Executive Committee : Ex-Com)
  • 2564 - ปัจจุบัน อนุกรรมการกำกับกลยุทธ์และการบริหาร บริษัท ขนส่ง จำกัด

This will close in 0 seconds

พัฒนพงษ์ พงศ์ศุภสมิทธิ์

การศึกษา

  • 2540 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมการก่อสร้างและการจัดการ) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
  • 2538 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าการการรถไฟขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (บริหาร)
  • 2562 - 2565 ผู้ช่วยผู้ว่าการการรถไฟขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
  • 2558 - 2562 ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานก่อสร้าง 1 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
  • 2540 - 2558 วิศวกร - ผู้อำนวยการกองบริหารงานก่อสร้าง 3 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2566 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 – ปัจจุบัน อนุกรรมการเตรียมการเปิดให้บริการและการบริหารโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง และสายสีชมพู ด้านการเดินรถ การเชื่อมต่อการให้บริการระบบขนส่ง และการประเมินคุณภาพสถานี กระทรวงคมนาคม
  • 2564 – 2565 กรรมการ คณะกรรมการกำกับและบริหารจัดการระบบขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม

This will close in 0 seconds

เกศวรงค์ หงส์ลดารมภ์

การศึกษา

  • 2539 ปริญญาโท MSc. (MIS) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • 2559 – 2564 ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สวทช.
  • 2555 – 2559 รองผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สวทช.
  • 2541 – 2555 ผู้อำนวยการฝ่ายรัฐกิจสัมพันธ์ สวทช.
  • 2536 – 2541 Computer Analyst, National Electronic and Computer Technology Center.(NECTEC)

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2559 -2564 กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยพัฒนา รร นายร้อย จปร. และ สวทช.
  • อนุกรรมการจัดทำสัญญางานระบบราง ระบบไฟฟ้าและเครื่องกลรวมทั้งขบวนรถไฟและการฝึกอบรมบุคลากร ในสัญญา 3 รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน

This will close in 0 seconds

ดร.พิชิต อัคราทิตย์

การศึกษา

  • 2535 ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเท็กซัส (ออสติน)
  • 2523 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2519 ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2563 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
  • 2559 – 2560 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
  • 2559 ประธานกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 2556 – 2559 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท หลักทรัพย์ เอเชีย เวลท์ จำกัด
  • 2545 – 2553 กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน)
  • 2537 – 2545 ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาตลาดทุน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม

This will close in 0 seconds

วัชรชาญ สิริสุวรรณทัศน์

การศึกษา

  • 2562 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรไทย สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
  • 2548 ปริญญาโท คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2534 ปริญญาโท Manufacturing Systems Engineering University of Wisconsin - Madison
  • 2528 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2566 – ปัจจุบัน รองผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 2559 – 2565 วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างกล การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม

This will close in 0 seconds

ดร.ภูวดล ศิริรังษี

การศึกษา

  • 2546 ปริญญาเอก Infrastructure Engineering สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
  • 2534 ปริญญาโท การเงิน University of Central Oklahoma สหรัฐอเมริกา
  • 2531 ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2566-ปัจจุบัน ที่ปรึกษา คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • 2560-2566 รองคณบดี คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • 2538-2556 Vice President (Special Asset Management) ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 อนุกรรมการสรรหาผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
  • 2564 อนุกรรมการสรรหาประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
  • 2547-2552 กรรมการ บริษัท ยูเอ็มซี เม็ททอล ในฐานะตัวแทนธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็น เจ้าหนี้ และผู้ถือหุ้น

This will close in 0 seconds

ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์

การศึกษา

  • 2544 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Development Studies University of Strathclyde สหราชอาณาจักร
  • 2539 ปริญญาโท Science and Technology Policy University of Strathclyde สหราชอาณาจักร
  • 2537 ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต ชีวเคมี (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2562 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการ สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2559 – 2562 เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2557 – 2559 รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2557 – 2559 ประจำสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี (ปฏิบัติงานกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
  • 2553 – 2556 ผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยและ การจัดการนโยบาย สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • 2550 – 2552 ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 2548 – 2549 ผู้เชี่ยวชาญนโยบาย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 2544 – 2548 นักวิจัยนโยบาย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 2537 – 2538 นักวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2535 – 2536 ผู้ช่วยนักวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

ปัจจุบัน

  • กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • กรรมการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • กรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
  • กรรมการ คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สำนักนายกรัฐมนตรี
  • ที่ปรึกษา คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ)
  • กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ อุตสาหกรรมเป้าหมาย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ)
  • ที่ปรึกษา สภาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการประจำวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
  • กรรมการ คณะกรรมการกำกับการซื้อชายแลกเปลี่ยนพลังงานสะอาดและคาร์บอนเครดิต สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • กรรมการ คณะกรรมการสมาคมพลังงานหมุนเวียนไทย (อาร์อี 100)
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • กรรมการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
  • กรรมการ คณะกรรมการบริหารสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการอํานวยการศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการอํานวยการวิทยาลัยศิลปะสื่อและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ที่ปรึกษา คณะกรรมการสมาคมหน่วยบ่มเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
  • กรรมการ คณะกรรมการบริหารศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับการขับเคลื่อนระบบราชการเพื่ออนาคต สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการวิสามัญเกี่ยวกับการเตรียมกําลังคุณภาพ คณะอนุกรรมการ พัฒนาระบบราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
  • อนุกรรมการคณะอนุกรรมการปฏิรูปกลไกทางกฎหมายเพื่อบูรณาการการปฏิบัติราชการสํานักงานขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สํานักงาน ป.ย.ป.)

ที่ผ่านมา

  • ประจําสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมฯ (ฉบับที่..) พ.ศ.... สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (พระราชบัญญัติ เกี่ยวกับการจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม)
  • อนุกรรมาธิการคณะอนุกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ภายใต้คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารมวลชน)
  • กรรมการและเลขานุการร่วมสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวนช.)
  • กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการอํานวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • อนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา (ภายใต้คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสารและโทรคมนาคม)
  • กรรมการผู้ร่วมจัดตั้งกลุ่ม Technology and Innovation Management Group สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • กรรมการ คณะกรรมการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ชลบุรี
  • กรรมการ คณะกรรมการบริหารโครงการนักเรียนทุน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • กรรมการ คณะกรรมการบริหารโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในกํากับมหาวิทยาลัย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการพัฒนากําลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ)
  • อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการจัดทําดัชนีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ)
  • อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการจัดทําโครงร่างนโยบายและแผนพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ)
  • อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการปรับระบบบริการจัดการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ)
  • อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการการวิจัยและพัฒนานาโนเทคโนโลยี (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายนาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ)
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะอนุกรรมการพัฒนากําลังคนด้านนาโนเทคโนโลยี (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายนาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ)
  • ประธานอนุกรรมการร่วม คณะอนุกรรมการจัดทําดัชนีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ (ภายใต้คณะกรรมการบริหารสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ หรือ คณะกรรมการอํานวยการสํานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมแห่งชาติ ปัจจุบัน)
  • กรรมการ มูลนิธิบ้านนกขมิ้น
  • ประธาน คณะกรรมการคริสตจักรบ้านสุขเกษม


This will close in 0 seconds

ดร.ธีรณี อจลากุล

การศึกษา

  • 2543 ปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ Syracuse University
  • 2539 ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ Syracuse University
  • 2537 ปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2562 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการ สถาบันส่งเสริมการ วิเคราะห์และบริหารข้อมูล ขนาดใหญ่ภาครัฐ (GBDi)
  • 2561 – 2562 ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่ในสํานักรัฐมนตรี กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  • 2559 – 2562 ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย นวัตกรรมและภาคี ความร่วมมือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2559 – 2561 ผู้อํานวยการ Big Data Experience Center Knowledge Exchange for Innovation

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐและความมั่นคง สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • กรรมการ คณะกรรมการพิจารณาผลการดำเนินการโครงการการบริหารจัดการและการพัฒนาการนำข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) มาใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินตามยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนานโยบายและกำกับดูแลระบบ National Single Window (NSW) กรมศุลกากร
  • กรรมการ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของรัฐสภา (ICT รัฐสภา ชุดใหญ่)
  • กรรมการ คณะกรรมการระบบคลาวด์กลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud services : GDCC) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการกำกับทิศแผนงาน Public Health Emergency กระทรวงสาธารณสุข
  • อนุกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
  • ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับและการติดตามการดำเนินงาน พัฒนาระบบจัดเก็บ วิเคราะห์ และการเข้าถึงข้อมูลขนาดใหญ่ มูลนิธิโครงการหลวง
  • กรรมการ คณะกรรมการบูรณาการเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านสวัสดิการของรัฐ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
  • ประธานอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลเด็กปฐมวัย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจัดการ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการด้านบูรณาการข้อมูลและพัฒนาต้นแบบศูนย์ปฏิบัติการอัจฉริยะ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
  • กรรมการ คณะกรรมการการขับเคลื่อนการพัฒนาการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการออกแบบสถาปัตยกรรม (Architecture Design) ระบบบูรณาการข้อมูลของภาครัฐ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติ รัฐสภา
  • กรรมการ คณะกรรมการจัดทำแผนแม่บทพัฒนาดิจิทัล สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการวิสามัญเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลโดยระบบดิจิทัล สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
  • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเฉพาะกิจเกี่ยวกับการขับเคลื่อนระบบราชการเพื่ออนาคต สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
  • กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  • กรรมการ คณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการพัฒนาระบบบริหารข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข

This will close in 0 seconds

ณัฐภัทริ์ อุณหคงคา

การศึกษา

  • ปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2563 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
  • 2561 – 2563 ผู้อำนวยการกองกำกับการเดินรถ รักษาการ ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ
  • 2560 – 2563 ผู้อำนวยการกองกำกับการเดินรถ
  • 2552 – 2559 หัวหน้าแผนกกำกับการเดินรถ 1
  • 2544 – 2551 วิศวกร

หลักสูตร/สถานที่อบรม ดูงาน

  • อบรมหลักสูตร : การออกแบบ ผลิตและติดตั้งอุปกรณ์สำหรับตัวรถไฟฟ้า ณ บริษัท Siemens ประเทศออสเตรีย ประเทศเยอรมนี ประเทศอังกฤษ ประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศอื่นในยุโรป
  • อบรมหลักสูตร : ด้านการเดินรถ Operation System ณ ประเทศสิงคโปร์
  • อบรมหลักสูตร : ด้านการเดินรถ Operation System จัดโดย JICA ณ ประเทศญี่ปุ่น

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
  • 2565 – ปัจจุบัน อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการเตรียมการเปิดให้บริการและกำกับการบริหารโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง และสายสีชมพู ด้านการเดินรถ การเชื่อมต่อการให้บริการระบบขนส่ง และการประเมินคุณภาพสถานี
  • 2563 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการกำกับการดำเนินงานของศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรระบบราง รฟม.
  • 2563 – 2564 ประธานกรรมการ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษาโครงการศึกษาเพื่อหาตัวเลขผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SROI) ของการให้บริการรถไฟฟ้า
  • 2561 - ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจรับงาน การดำเนินงานระยะที่ 1 สัญญาสัมปทาน โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว - สำโรง และโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุรี

This will close in 0 seconds

สุชีพ สุขสว่าง

การศึกษา

  • 2540 ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา Science University of Tokyo
  • 2538 ปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา Science University of Tokyo

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 – ปัจจุบัน รองผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 2563 - 2565 รองผู้ว่าการกลุ่มธุรกิจการเดินรถ (นักบริหาร 14) การรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 2559 – 2563 วิศวกรใหญ่ฝ่ายโครงการพิเศษและก่อสร้าง (นักบริหาร 13) ฝ่ายโครงการพิเศษและก่อสร้าง
  • 2558 – 2559 รองวิศวกรใหญ่ด้านบํารุง (นักบริหาร 12) ฝ่ายการช่างโยธา
  • 2555- 2558 วิศวกรอํานวยการศูนย์ทางถาวร (วิศวกร 11) ฝ่ายการช่างโยธา

ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2566 - ปัจจุบัน อนุกรรมการป้องกันอุบัติภัยจากการจราจรทางน้ำ ทางอากาศ และทางบก คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ
  • 2565 – ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม

This will close in 0 seconds

ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์

การศึกษา

  • 2542 ปริญญาเอก D. (Physics), Case Western Reserve University, USA
  • 2539 ปริญญาโท S. (Physics), Case Western Reserve University, USA
  • 2536 ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2565 – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • 2562 – 2565 Vice Chair of PISA Governing Board, OECD
  • 2561 – 2565 ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 2556 – 2561 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 2552 – 2556 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 2552 – 2556 ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทางฟิสิกส์คำนวณและทฤษฎี ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์
  • 2549 – 2561 ศาสตราจารย์ประจำสาขาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2565 - ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการดำเนินการร่วมมือและประสานงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบราง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
  • 2564 - ปัจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 2564 – ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
  • 2559 – ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  • 2563 – 2565 กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.)
  • 2555 – 2559 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  • 2555 – 2559 กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์

This will close in 0 seconds

ดร.อาณัติ หาทรัพย์

Details coming soon

This will close in 0 seconds

รองศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ธีระเจตกูล

การศึกษา

  • 2550 ปริญญาเอก Construction Engineering and Managemen Asian Institute of Technology
  • 2537 ประกาศนียบัตร 1 year-course in Earthquake Engineering IISEE (International Institute of Seismology and Earthquake Engineering) ประเทศญี่ปุ่น
  • 2531 ปริญญาโท วิศวกรรมโครงสร้าง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2523 ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2562 - ปัจจุบัน วิศวกรอิสระ และ อาจารย์พิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology
  • 2551 - 2562 อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2551 - 2562 วิศวกรวิศวกรที่ปรึกษา
    - บริษัท พีทีอี เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแทนต์ จำกัด (2560 – 2562)
    - บริษัท เท็น คอนซัลแทนต์ จำกัด (2551 – 2562)
    - บริษัท เซ้าท์อี๊สท์เอเซียเทคโนโลยี จำกัด (2558 – 2562)
  • 2541 -2551 วิศวกรที่ปรึกษา โรงงานไนซ์ แอพพาเรล
  • 2539 -2540 วิศวกรออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง บริษัท อาควา นิชิฮารา จำกัด
  • 2539 วิศวกรโครงสร้างอาวุโส บริษัท แพลนนิ่ง แอนด์รีเสิร์ช คอนซัลแทนต์ จำกัด
  • 2532 - 2539 วิศวกรโยธา กรมโยธาธิการ
  • 2528 - 2531 วิศวกรโยธา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • 2527 - 2528 วิศวกรโยธา กรมชลประทาน
  • 2524 -2526 วิศวกรสนาม บริษัท อิตาเลียนไทย จำกัด (ประเทศมาเลเซีย)

This will close in 0 seconds

ดร.เสถียร เจริญเหรียญ

การศึกษา

  • 2537 ปริญญาโท ปริญญาเอก Doctor of Philosophy, Civil Engineering University of California, Davis
    ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 2534 ปริญญาโท Master of Science, Civil Engineering University of California, Davis
    ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 2529 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 ฟิสิกส์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2564 - ปัจจุบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กระทรวงมหาดไทย
  • 2563 - 2564 ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย
  • 2561 - 2563 วิศวกรใหญ่ (วิศวกรโยธาทรงคุณวุฒิ) กรมโยธาธิการและผังเมือง
  • 2557 -2561  ผู้อำนวยการสำนักวิศวกรรมโครงสร้างและงานระบบ กรมโยธาธิการและผังเมือง
  • 2555 - 2557 ผู้อำนวยการสำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง
  • 2554 - 2555 วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง
  •  2549 - 2554 หัวหน้างาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาคาร สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง
  • 2543 - 2546 หัวหน้างาน หน่วยออกแบบโครงสร้าง ๒ กลุ่มงานออกแบบโครงสร้าง กองวิศวกรรมโครงสร้าง กรมโยธาธิการ


ประวัติด้านกรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา

  • 2564 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจสอบทางวิชาการแผนงาน โครงการภายใต้ภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
  • 2562 - ปัจจุบัน กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ ๗
  • 2559 - ปัจจุบัน ผู้ชำนาญการพิเศษเพื่อทดสอบความรู้ความชำนาญการประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญ และระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา (ผู้ชำนาญการพิเศษ ด้านโครงสร้างอาคาร) สภาวิศวกร
  • 2559 – ปัจจุบัน ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินผลงานวิจัยโครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ระยะที่ ๑ ถึงระยะที่ ๔) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • 2550 - 2563 อนุกรรมการยกร่างกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
  • 2553 -2555 ประธานคณะกรรมการประเมินผลงานของบุคคลเพื่อแต่งตั้งข้าราชการ ตำแหน่งประเภทวิชาการให้ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ คณะที่ ๒ สายงานวิศวกรรมโยธา ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ (วิศวกรรมด้านโยธาธิการ) กรมโยธาธิการและผังเมือง
  • 2548 - 2560 ที่ปรึกษางานวิจัย/กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
  • 2546 - 2555 กรรมการ/ผู้ทรงคุณวุฒิปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต /วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต/วิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
    ของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ

This will close in 0 seconds

จารวุรรณ เรืองสวัสดิพงศ์

การศึกษา

  • 2539 - 2540 ปริญญาโท MBA Financial Studies "University of Nottingham
    สหราชอาณาจักร"
  • 2520 - 2523 ปริญญาโท บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2519 - 2519 ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2563 - ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการด้านการพัฒนาวิชาชีพบัญชี
  • 2561 - ปัจจุบัน กรรมการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลเพื่อเลื่อนข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินขึ้นดำรงตำแหน่งด้านวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับชำนาญการพิเศษ
  • 2561 - ปัจจุบัน คณะทำงานส่งเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการตรวจสอบภายใน การกีฬาแห่งประเทศไทย
  • 2559 - เม.ย. 2565 ประธานกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด
  • 2563 - 2564 กรรมการจัดระเบียบและแก้ไขปŽญหาธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยนครพนม
  • 2560 - 2563 เลขาธิการ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2561 - 2563 AFA Council committee
  • 2561 Senior Auditing Expert, GIZ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของประเทศเยอรมัน
  • 2558 - 2561 Senior Capacity Building Consultant, GIZ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน
  • 2556 - 2558 กรรมการบริหารและกรรมการตรวจสอบ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
  • 2555 - 2556 กรรมการพัฒนาบุคคลากร ASEAN Supreme Audit Institution
  • 2523 - 2558 ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (เกษียณอายุราชการตำแหน่งผู้ตรวจเงินแผ่นดินภาค 5 ระดับทรงคุณวุฒิ)
  • 2521 -2523 เจ้าหน้าที่ตรวจเงินและบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์


หลักสูตรอบรม

  • หลักสูตร Course Design and Development and Instructor Techniques, INTOSAI Development Initiative
  • หลักสูตรด้านการตรวจสอบการดำเนินงาน (Canadian Comprehensive Auditing International Program in Performance Audit) ที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประเทศแคนาดา
  • หลักสูตรนักบริหารการตรวจเงินระดับสูง จัดโดยสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • หลักสูตร Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • หลักสูตร IT Governance for Directors สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • หลักสูตร Risk Management: Issues for Boards สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • หลักสูตร What Boards Need to Know about Digital Assets สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • การอบรม CG Code Update บริษัท ไพรซ์วอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ จำกัด
  • การอบรม Project Acquisition บริษัท ไพรซ์วอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ จำกัด

This will close in 0 seconds

เยาวลักษณ์ จำปีรัตน์

การศึกษา

  • 2534 ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • 2524 ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2560 - 2563 รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
  • 2559 - 2560 ที่ปรึกษาสำนักงบประมาณ
  • 2555 - 2559 ผู้อำนวยการสำนักจัดทำงบประมาณด้านเศรษฐกิจ 2
  • 2555 นักวิเคราะห์งบประมาณเชี่ยวชาญ


หลักสูตรอบรม

  • 2555 หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
  • 2556 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ส.นบส.) สำนักงาน ก.พ.

ประวัติด้านกรรมการ อนุกรรมการ ที่ปรึกษา


  • อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
  • คณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร
  • ที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ด้านการบริหารจัดการการเงิน
  • ที่ปรึกษาสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านยุทธศาสตร์และ การบริหารงบประมาณ
  • คณะกรรมการตรวจสอบของมหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย
  • คณะกรรมการบริหารศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ
  • คณะกรรมการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักงบประมาณ
  • คณะกรรมการบริหารสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
  • คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • คณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
  • คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
  • คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
  • คณะกรรมการอุดมศึกษา
  • คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาฃ
  • คณะกรรมการสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยี และนวัตกรรม
  • คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • คณะกรรมการบริหารโครงการจัดตั้งสถาบันไทยโคเซ็น
  • คณะกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐมีส่วนร่วมในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต

This will close in 0 seconds

ถาวร ชลัษเฐียร

การศึกษา

  • 2546 ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2556 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาอาวุโสด้านการบริหาร บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส (HR, GA, Legal, DTAT) บริษัท เด็นโซ่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2547 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ (HR, GA, Legal, DTAT) บริษัท เด็นโซ่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2544 รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM) บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2538 ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายผลิต โรงงานบางปะกง บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2532 ผู้จัดการอาสุโสฝ่ายประกันคุณภาพ (จัดซื้อและควบคุมการผลิต) โรงงานสำโรง บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2526 ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพ (ห้องปฏิบัติการสอบเทียบ) โรงงานสำโรง บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2522 หัวหน้าทีมควบคุมคุณภาพ โรงงานสำโรง บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2517 ฝ่ายตรวจสอบ โรงงานสำโรง บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด


ตำแหน่งปัจจุบัน ภาครัฐ/สถาบัน/สมาคม

1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  • รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • ประธานสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์
  • ประธานคลัสเตอร์ยานยนต์และชั้นส่วนยานยนต์
  • ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมชั้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์
  • รองประธานคณะกรรมการโครงการไทยแลนด์ 4.0
  • ประธานคณะกรรมการความร่วมมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระดับอุดมศึกษาด้านอุตสาหกรรม
  • คณะทำงาน กกร. ด้านแรงงาน

2. สมาคม/สถาบันด้านเทคโนโลยี

  • รองประธานอาวุโส สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
  • ที่ปรึกษาสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย
  • อุปนายกฝ่ายบริหารและวางแผน สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย
  • กรรมการ สถาบันไทย - เยอรมัน
  • กรรมการตรวจสอบ สถาบันไทย - เยอรมัน
  • อนุกรรมการปรับปรุงระเบียบการบริหารงานของอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันยานยนต์

3. กระทรวงศึกษาธิการ

  • ประธานอนุกรรมการบริหารและกำกับติดตามการพัฒนากำลังคนในสาขาอาชีพที่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน (7+1 สาขา)
  • ประธานคณะกรรมการร่วมภาครัฐเอกชนเพื่อพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษากลุ่มอาชีพยานยนต์ชิ้นส่วน (กรอ.อศ.)

4. กระทรวงแรงงาน

  • กรรมการ ในคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
  • รองประธานกรรมการบริหารนโยบายสถาบันพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ (AHRDA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวมแรงงาน
  • รองประธานกรรมการบริหารนโยบายสถาบันพัฒนาบุคลากรเทคโนโลยีอัตโนมัติและหุ่นยนต์ (MARA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
  • ประธานสภาที่ปรึกษาสภาพัฒนาแรงงานแห่งชาติ ชุดที่ 19
  • ประธานสภาที่ปรึกษาสภาพัฒนาแรงงานแห่งชาติ ชุดที่ 18
  • คณะกรรมการบริหารสถาบันพัฒนาบคลากรดิจิทัล (DiSDA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

5. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

  • กรรมการกองทุนส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุนนวัตกรรม

6. มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา

  • กรรมการสภาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
  • ประธานคณะกรรมการกิจกรรมนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
  • คณะกรรมการประจำศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

7. องค์กรระหว่างประเทศ

  • สมาชิกสามัญ International Academy for Quality (IAQ)
  • ประธานคณะทำงาน กกร. ด้านการพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อรองรับ 4IR ภายใต้โครงการ ASEAN Human Empowerment and Development (AHEAD Legacy Project)

8. องค์กรเอกชน

  • กรรมการอิสระ บริษัท ไทยรุ่ง ยูเนี่ยนคาร์ จำกัด (มหาชน)

รางวัล

  • 2562 ประกาศเกียรติคณผู้มีคุณูปการณ์ จากสถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น
  • 2559 รางวัลเกียรติยศศิษย์เก่าดีเด่น สถาบันเทคโนโลยีปทุม
  • 2558 โมเดลยานยนต์ดีเด่น จากสมาคมวิศวกรรมยานยนต์แห่งประเทศไทย
  • 2558 รางวัลเกียรติยศผู้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2558 รางวัลกิตติมศักดิ์การสนับสนุนนักเรียนอาชีวศึกษา ผู้ชนะเลิศสาขาการกลึง CNC ในการแข่งขัน World Skills ครั้งที่ 43 ณ ประเทศบราซิล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
  • 2557 รางวัลเกียรติยศผู้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงแรงงาน
  • 2552 รางวัลเกียรติยศศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • 2534 รางวัลการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการควบคุมคุณภาพในองค์กรจากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น)

ผลงานเผยแพร่ต่อสาธารณะ

  • 2560 การสัมภาษณ์พิเศษของกลุ่มชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ ประจำปี ) 2560"Technopolis" must, if auto industry is to stay on top World - quality industry will support EEC scheme and "Industry 4.0")
  • 2559 การตีพิมพ์วารสารอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย New Era of Collaboration : Auto Academy Gears Up for Competitive, Sustainable Industry
  • วิทยากรบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วน ในการประชุม Asian (AMEICC) Conference กรุงเทพฯ
  • 2558 การสัมภาษณ์พิเศษของกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ ประจำปี 2558 an Eye Future Change Industry Leader is Confident, but Issues a Warning
  • 2557 การตีพิมพ์วารสารอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย การหาคนทำงานที่มีทักษะสำหรับ : อุตสาหกรรมยานยนต์ที่สั้นหวัง The Dilemma of and Industry in Full Flight
  • 2554 วิทยากรบรรยาย หัวข้อ แนวทางปฏิบัติด้านการจัดการที่ยั่งยืน ในการประชุมชัพพลายเออร์ของโตโยต้า ปี 2554

This will close in 0 seconds

การประมาณความต้องการของบุคลากร ระบบรถไฟฟ้า ระยะ 15 ปี

การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี ประเทศไทยได้กำหนดนโยบายการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งมีโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของฐานในการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยเฉพาะระบบการขนส่งทางรางทั้งในด้านการขนส่งสินค้าและการขนส่งผู้โดยสาร และได้นำไปสู่การวางแผนขยายเส้นทางของระบบรางของประเทศ ทั้งในระบบการขนส่งทางไกล ซึ่งเป็นระบบโครงข่ายที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ และระบบขนส่งรถไฟฟ้าในเมืองและรถไฟฟ้าระหว่างเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเมือง เนื่องด้วยประเทศไทยกำลังดำเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางรางประเภทรถไฟฟ้า และในบางเส้นทางนั้นมีแนวโน้มที่กำลังจะเปิดให้บริการในระยะเวลาอันใกล้สทร. ในฐานะหน่วยงานที่มีพันธกิจตามกฎหมายในการดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรระบบรางของประเทศ จึงได้ดำเนินการศึกษาและพัฒนาการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระยะ 15 ปี เพื่อส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางในประเทศ รวมถึงเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางให้กับภาคผู้กำหนดนโยบาย ภาคผู้เดินรถ/ผู้ประกอบการ และภาคการศึกษาและฝึกอบรม รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจด้วย จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลแนวปฏิบัติทั้งในประเทศ และต่างประเทศ พบว่า กลุ่มงานและตำแหน่งงานที่เป็นส่วนหลักพื้นฐานในการบริหารจัดการเดินรถหนึ่งเส้นทางที่สำคัญ คือ ฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถ ซึ่งเป็นกลุ่มงานที่ต้องมีความรู้และประสบการณ์ด้านความปลอดภัยและด้านเทคนิค เพื่อให้สามารถบริการได้อย่างมีมาตรฐาน สะดวกสบาย ตรงต่อเวลา และปลอดภัยแก่ผู้รับบริการ รายงานการศึกษานี้ จึงมุ่งเน้นศึกษาและประมาณการความต้องการบุคลากรในฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถเป็นสำคัญ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่มงานหลัก ได้แก่
- กลุ่มงานสถานี
- กลุ่มงานเดินรถ
- กลุ่มงานซ่อมบำรุงรักษา
จากการปริมาณความต้องการของบุคลากรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในระยะ 15 ปี ในทุกกลุ่มงานพบว่า ประเทศไทยมีความต้องการถึง 6,292 –7,600 คน
*ข้อมูลจาก : หนังสือ การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี (จัดพิมพ์กระทรวงคมนาคม สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)

3D FlipBook

 

This will close in 0 seconds

รายงานสรุปการสังเกตการณ์การทดสอบรถโบกี้บรรทุกตู้สินค้าต้นแบบ

ด้วยกลุ่มงานวิจัยและพัฒนามาตรฐานและการทดสอบ สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) (สทร..) มีพันธกิจในการพัฒนามาตรฐานระบบการทดสอบและดำเนินการทดสอบด้านระบบราง ซึ่งทาง บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (WCE) บริษัทในเครือสหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (SSI) ได้เป็นพันธมิตรและทำบันทึกตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง สทร. กับ WCE เรื่อง การส่งเสริมสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศ” โดยทาง WCE ได้เชิญให้ สทร. เข้าร่วมสังเกตการณ์การทดสอบ Static Test และ Running Test ของรถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต ตามมาตรฐานวิธีการทดสอบการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยดำเนินการระหว่างวันที่ 8 11 พฤษภาคม 2566 ณ บริษัท เวสโคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด และสถานีรถไฟนาผักขวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
3D FlipBook

This will close in 0 seconds

รายงานสรุปการลงพื้นที่ภาคสนามโครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบรถไฟฟ้ารางเบาโดยใช้ชิ้นส่วนที่ผลิตภายในประเทศ

เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้น เพื่อศึกษาแนวทางการผลักดันและส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่และผลิตภัณฑ์ด้านอุตสาหกรรมการขนส่งทางรางให้เกิดขึ้นในประเทศ ตามการพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เพื่อให้เกิด Local Content ที่ยั่งยืน สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ควบคู่กับแผนยุทธศาสตร์คมนาคม ซึ่งทาง สทร. ได้เล็งเห็นความสาคัญการสนับสนุนการสร้างอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนระบบรางในประเทศ เพื่อสนับสนุนนโยบาย Thai First ผ่านแผนงานบูรณาการความร่วมมือ เพื่อยกระดับคุณภาพบริการและการผลิตให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล
3D FlipBook

This will close in 0 seconds

บทบาท สทร. ในการขับเคลื่อนเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรมระบบรางของไทย

"บทบาท Connector ขับเคลื่อนเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรมระบบรางของไทย"
สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) หรือ สทร. ได้ผนึกกำลังสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ เพื่อพัฒนากรอบทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางของประเทศ ให้เดินหน้าไปอย่างมั่นคง ควบคู่กับแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม โดยบูรณาการแผนงาน โครงการต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดตั้ง 6 พันธกิจ ดังนี้
1. จัดทำยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีระบบรางของประเทศเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
2. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางรวมทั้งสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับระบบราง และร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อนำงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
3. วิจัยและพัฒนามาตรฐานระบบรางและระบบการทดสอบด้านระบบราง ดำเนินการทดสอบด้านระบบราง และรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพสำหรับใช้ประกอบการยื่นคำขอใบอนุญาตประกอบกิจการขนส่งทางราง
4. ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้านการวิจัยและนวัตกรรม และการรับ แลกเปลี่ยนถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง และเป็นศูนย์กลางในการรับ แลกเปลี่ยน และถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบราง
5. พัฒนาบุคลากรด้านระบบรางและจัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อให้การรับรองความรู้และทักษะให้แก่บุคลากรด้านระบบราง
6. จัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบราง เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยและนวัตกรรม หน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ และ ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบราง
โดยปัจจุบันได้สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน แล้วกว่า 6 ความร่วมมือ มากกว่า 10 หน่วยงาน และยังคงเดินหน้าเสริมสร้างเครือข่ายการพัฒนาที่เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง

 

This will close in 0 seconds

ประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระยะ 15 ปี

สทร. ในฐานะหน่วยงานที่มีพันธกิจในการดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรระบบรางของประเทศ ได้ดำเนินการศึกษาและพัฒนาการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระยะ 15 ปี เพื่อส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางในประเทศ รวมถึงเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาบุคลากรระบบรางให้กับภาคผู้กำหนดนโยบาย ผู้เดินรถ/ผู้ประกอบการ และภาคการศึกษาและฝึกอบรม รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ
ผลการศึกษาพบว่า ฝ่ายงาน กลุ่มงาน และตำแหน่งงานที่เป็นส่วนหลักพื้นฐานในการบริหารจัดการเดินรถหนึ่งเส้นทางที่สำคัญ คือ ฝ่ายงานบริหารจัดการเดินรถ โดยมี 3 กลุ่มงานหลักพื้นฐาน ได้แก่
  • กลุ่มงานสถานี
  • กลุ่มงานเดินรถ
  • กลุ่มงานซ่อมบำรุงรักษา
ทั้งนี้ ฝ่ายงานและกลุ่มงานดังกล่าว ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ เพื่อสามารถให้บริการได้อย่างมีมาตรฐาน สะดวกสบาย ตรงต่อเวลา และปลอดภัยแก่ผู้รับบริการจากการศึกษาพบว่า ในระยะ 15 ปีข้างหน้านี้ ประเทศไทยมีความต้องการบุคลากรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ในทุกกลุ่มงานมากถึง 6,292 –7,600 คน
รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม : รายงานการประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) กระทรวงคมนาคม
คลิกเพื่ออ่าน e-Book และ Download รายงานได้ที่ https://www.rtrda.or.th/3d-flip-book/wb-1
#สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง #กระทรวงคมนาคม #การประมาณการความต้องการบุคลากรสำหรับระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระยะ 15 ปี

 

This will close in 0 seconds

ดร.กานต์รวี ทองพูล

การศึกษา

  • 2566 ปริญญาเอก สาขาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 2539 ปริญญาโท MSc. Public Relations, Stirling University, United Kingdom
  • 2533 ปริญญาตรี B.A. (Hons) Public Media and Business Studies, Leeds Trinity University, United Kingdom

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2566 – ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง
  • 2549 – 2566 การรถไฟแห่งประเทศไทย
        • ผู้ตรวจการรถไฟ
        • ผู้อำนวยการสถาบันฝึกอบรมระบบราง
        • หัวหน้าสำนักงานฝึกอบรมและพัฒนา
        • ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการและมวลชนสัมพันธ์ รถไฟฟ้า
        • ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาโครงการ 2 (ส่วนภูมิภาค) สำนักงานจัดการทรัพย์สิน
        • ผู้อำนวยการศูนย์ประชาสัมพันธ์และบริการท่องเที่ยว
        • ผู้อำนวยการศูนย์ประจำการรถไฟ
        • หัวหน้ากองการต่างประเทศ

This will close in 0 seconds

รายงานผลการวิเคราะห์ค่ามลพิษทางอากาศ

สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) เล็งเห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วน โดยได้ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อทำการตรวจวัดค่ามลพิษทางอากาศ ณ บริเวณ ชานชาลา สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ โดยใช้เทคนิควิธีการวัดและเครื่องมือที่ได้มาตรฐานสากล และมีระบบ คุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 แต่อย่างไรก็ดี ผลการตรวจวัดดังกล่าว ไม่สามารถแปรผลและ ใช้งานได้ทันที จำเป็นต้องถูกวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องตรงประเด็น อัน จะช่วยให้การกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายใน ดำเนินการปรับปรุง และป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย

3D FlipBook

This will close in 0 seconds

รายงานผลการวิเคราะห์ค่ามลพิษทางเสียง

ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) เล็งเห็นถึงความจําเป็นเรื่องด่วนในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้เรื่องดําเนินการลงพื้นที่เพ่ือทําการตรวจวัดค่า มลพิษทางด้านเสียงรบกวน ณ บริเวณชานชาลา สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ โดยใช้เทคนิควิธีการวัดและ เครื่องมือที่ได้มาตรฐานสากล และมีระบบคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 แต่อย่างไรก็ดี ผลการตรวจวัดดังกล่าว ไม่สามารถแปรผลและใช้งานได้ทันที จําเป็นต้องถูกวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อให้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องตรงประเด็น อันจะช่วยให้การกําหนดแนวทางแก้ไขปัญหาสามารถดําเนินการ ได้อย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในดําเนินการปรับปรุง และป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย

3D FlipBook

This will close in 0 seconds

PAGE TOP
TH